Custom Search
Latest Article Get our latest posts by subscribing this site
การจำแนกแก้วตามลักษณะการใช้งาน

การจำแนกแก้วตามลักษณะการใช้งาน

  แก้วสามารถจำแนกตามลักษณะการใช้งาน ดังนี้1. แก้วที่ใช้ในวงการวิทยาศาสาตร์  เมื่อพิจารณาสมบัติๆของแก้ว เช่น ทางด้านเชิงกล ความร้อน ทางไฟฟ้า ทางแสง และทางเคมีแล้วแก้วยังสมารถผลิตขึ้นมาเพื่อใช้ในความต้องการได้หล
การจำแนกแก้วตามลักษณะส่วนผสม

การจำแนกแก้วตามลักษณะส่วนผสม

  บรรดาผลิตภัณฑ์แก้วนานาชนิดที่มนุษย์ผลิตขึ้นเพื่อสนองความต้องการใช้มีอยู่มากมาย การผลิตแก้วให้เบาเหมือนไม้คอร์ก หรือหนักเหมือนเหล็ก แข็งแรงเหมือนเหล็กกล้า เปราะง่ายเหมือนเปลือกไข่ อ่อนนุ่มเหมือนปุยฝ้าย หรือแข็งเหม
ประเภทของแก้ว

ประเภทของแก้ว

  แก้ว คืออะไร แก้ว คือ สลารชนิดหนึ่ง แต่ในกรณีของสสารทั่วไปมี 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ในสภาวะที่เป็นก๊าซเมื่อเย็นตัวลงจะกลายเป็นของเหลว และเมื่อเย็นตัวต่อไปก็จะกลายเป็นของแข็ง เช่น น้ำเป็นของเหลว เมื่อ
มวลโลหะทีเคลือบ

มวลโลหะทีเคลือบ

  ลักษณะและสมบัติของโลหะที่ใช้เป็นวัสดุพิมพ์มีทั้งทางเคมีและทางกายภาพ ทางเคมีมีส่วนใหญ่จะเน้นที่ความสามารถของโลหะในด้านความทนทานต่อการกัดกร่อนซึ่งจะไม่กล่าวถึงในรายละเอียดมากนักในที่นี้ลักษณะและสมบัติของโลหะที่จะเน
อะลูมิเนียมที่ใช้ในทางการพิมพ์

อะลูมิเนียมที่ใช้ในทางการพิมพ์

  อะลูมิเนียมจัดเป็นโลหะที่มีน้ำหนักเบาและขึ้นรูปได้ง่ายกว่าเหล็กกล้า อะลูมิเนียมมีสภาพนำไฟฟ้าและความร้อนดี ความสามารถในการสะท้อนแสงสูง และมีความต้านทานการออกซิไดส์ อะลูมิเนียมได้จากการถลุงแร่จากสินแร่ออกไซด์ หรือ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวพิมพ์

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับตัวพิมพ์

     ตัวพิมพ์มีการพัฒนารูปลักษณ์มาจากเค้าโครงตัวเขียนของภาษาต่างๆ ดังเช่นในกรณ๊ตัวพิมพ์ไทยตัวพิมพ์แบบแรกๆ ที่ใช้พิมพ์หนังสือในประเทศไทย คือ "บรัดเลย์เหลี่ยม" หรือตัวพิมพ์ที่ใช้ในหนังสื
กระแสงานของงานก่อนพิมพ์

กระแสงานของงานก่อนพิมพ์

         งานก่อนพิมพ์เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการนำเข้าข้อมูลเนื้อหาและภาพ    เพื่อจัดทำเป็นองค์ประกอบของหน้างานพิมพ์   และการดำเนินการต่างๆ  ที่เกี่ยวข้องเพื่อให้แม่พิมพ์มีควา
การเคลือบและการตกแต่งลวดลาย

การเคลือบและการตกแต่งลวดลาย

  การเคลือบและการตกแต่งลวดลาย( glaze and decoration ) เป็นขั้นตอนที่สำคัญมาก เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีสีสัน ลวดลายที่สวยงาม และทำให้ผลิตภัณฑ์มีความหลากหลาย  การตกแต่งลวดลายทำได้ 2 วิธี คือ การตกแต่งลวดลายใต้เคลือบ (
การเตรียมน้ำยาเคลือบ

การเตรียมน้ำยาเคลือบ

  ขั้นตอนในการเตรียมน้ำยาเคลือบ สามารถแบ่งเป็นขั้นๆ ได้ ดังนี้  1) ชั่งส่วนผสมของวัตถุดิบต่างๆ ตามสูตร  2) ใส่ส่วนผสมลงในหม้อบดซึ่งมีลูกบดอยู่ เติมน้ำลงไป การบดใช้เวลาประมาณ 8-14 ชั่วโมง เพื่อให้ได้ความละ
เทคโนโลยีเกี่ยวกับตัวพิมพ์

เทคโนโลยีเกี่ยวกับตัวพิมพ์

1. ตัวพิมพ์เป็นรูปลักษณ์ของภาษาเขียนของชนชาติต่างๆ ตัวอักษรไทยและตัวอักษรโรมันมีลักษณะโครงสร้างและส่วนประกอบของแต่ละภาษาแตกต่างกัน แบบตัวพิมพ์มักได้รับการออกแบบเป็นชุดที่มีขนาดของเส้นและความลาดเอนต่างกัน  เพื่อให้ส
เทคโนโลยีเกี่ยวกับด้วยพิมพ์และเทคโนโลยีการจัดการข้อความ

เทคโนโลยีเกี่ยวกับด้วยพิมพ์และเทคโนโลยีการจัดการข้อความ

ตัวพิมพ์ที่เป็นรูปลักษณะของภาษเขียนของชนชาติต่างๆ ตัวอักษรไทยและตัวอักษรโรมัน (ภาษาอังกฤษ) มีลักษณะโครงสร้างและส่วนประกอบแตกต่างกัน  แบบตัวพิมพ์มักถูกออกแบบเป็นชุดที่มีขนาดของเส้นหรือความลาดเอียงแตกต่างกัน  เพ
วัตถุดิบที่ใช้ในการเคลือบ

วัตถุดิบที่ใช้ในการเคลือบ

วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตน้ำยาเคลือบหรือใช้ในการเคลือบ แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการใช้งานได้ดังนี้  2.1 สารที่ทำให้เกิดแก้ว( glass former ) คือ ซิลิก้า( silica )ที่มีสูตรทางเคมีว่า sio2 วัตถุดิบที่ใช้เป็นสารที่ทำให้เกิด
การเคลือบผลิตภัณฑ์

การเคลือบผลิตภัณฑ์

การเคลือบเซรามิกเป็นการนำน้ำยาเคลือบที่ผสมตามสูตรแล้ว เคลือบบนผิวของเนื้อผลิตภัณฑ์ เทคนิคการเคลือบทำได้หลายวิธี เช่น การจุ่มผลิตภัณฑ์ดินลงในถังน้ำยาเคลือบหรือการพ่นน้ำยาเคลือบหรือการราดด้วยน้ำยาเคลือบ จากนั้นปล่อยให้เย็
การเตรียมเซรามิกเพื่อการพิมพ์

การเตรียมเซรามิกเพื่อการพิมพ์

  การเตรียมเซรามิกเพื่อพิมพ์จะผ่านขั้นตอนต่างๆ ตามกระบวนการผลิตเซรามิก โดยทั่วไปกระบวนการผลิตสามารถแบ่งออกเป็นขั้นตอน ดังนี้1. การเตรียมส่วนผสมของเนื้อผลิตภัณฑ์( body preparation )2. การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์( forming)3.
เซรามิกแบบใหม่

เซรามิกแบบใหม่

ตั้งแต่ปีค.ศ 1940 มาจนปัจจุบัน วิทยาการด้านวัสดุมีการค้นคว้าและพัฒนาอย่างมาก ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านอวกาศ นิวเคลียร์ ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ ทำให้มีการพัฒนาวัสดุใหม่ๆขึ้น มีการศึกษาวิจัยและนำเซรามิกไปใช้ในงานเหล่านี้
ประเภทของเซรามิกที่แบ่งตามลักษณะของเนื้อดิน

ประเภทของเซรามิกที่แบ่งตามลักษณะของเนื้อดิน

  การจำแนกประเภทเซรามิกแบบเดิมตามลักษณะของเนื้อดิน เป็นที่นิยมใช้มาก เซรามิกชนิดนี้ ได้แก่2.1 เทอราคอดตา( terra cotta )เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเนื้อดินเป็นสี(ไม่ขาว) เช่น สีแดง สีน้ำตาล สีเหลืองอ่อนเกิดจากการใช้ดินเหนียว
ประเภทของเซรามิกที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน

ประเภทของเซรามิกที่แบ่งตามลักษณะการใช้งาน

 ผลิตภัณฑ์ของเซรามิกแบบเดิม มักผลิตขึ้นเพื่อใช้ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเสริมปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการปัจจัยพื้นฐานของการดำรงชีวิต เช่น ทำภาชนะสำหรับใส่น้ำ อาหาร ยารักษาโรคทำวัตถุก่อสร้างสำหรับที่อยู่อาศัย ดังนั้
เซรามิกแบบเดิม

เซรามิกแบบเดิม

เซรามิก( ceramic )มาจากภาษากรีกว่าเครามอส(Keramos)ซึ่งมีความหมายว่าของแข็งที่ได้จากการเผาในที่นี้จึงขอให้คำนิยามของเซรามิก ว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการนำวัตถุดิบประเภทสารอนินทรีย์ เช่น แร่ หิน ดินที่เกิดอยู่ตามธรรมชาติม
สารเติมแต่งกระดาษ

สารเติมแต่งกระดาษ

สารเติมแต่งที่ใช้ในน้ำยาเคลือบส่วนมากเป็นสารเคมีที่มีโครงสร้างซับซ้อน  และมีหน้าที่เฉพาะที่ใช้กันในน้ำยาเคลือบ  ตัวอย่างเช่น  สารที่ช่วยทำให้กระจาย  สารช่วยอุ้มน้ำหรือสารปรับความหนืด  สารหล่อลื่
ตัวยึดกระดาษสังเคราะห์

ตัวยึดกระดาษสังเคราะห์

ตัวยึดสังเคราะห์เป็นสารที่ได้จากสารสังเคราะห์มักนิยมใชัในรูปลาเทกซ์   ซึ่งจะมีขนาดเม็ดสารประมาณ 0.1-  0.5  ไมครอน และใช้ผสมในน้ำยาเคลือบในอัตราส่วนประมาณร้อยละ 10  โดยน้ำหนักต่อเนื้อสารทั้งหมดลาเทกซ์
ตัวยึดกระดาษ

ตัวยึดกระดาษ

ตัวยึดที่อยู่ในน้ำยาเคลือบจะช่วยยึดผงสีขาวให้ติดกับกระดาษรองรับได้ดีขึ้น ตัวยึดสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ๆคือ ตัวยึดธรรมชาติ และตัวยึดสังเคราะห์ 1. ตัวยึดธรรมชาติ ตัวยึดธรรมชาติ ได้แ
องค์ประกอบของน้ำยาเคลือบกระดาษ

องค์ประกอบของน้ำยาเคลือบกระดาษ

ผงสีขาว   1. ดินขาว ในบรรดาผงสีขาวชนิดต่างๆ ดินขาว เป็นผงสีที่มีโครงสร้างผลึกเป็นแผ่นหกเหลี่ยม ส่วนใหญ่ดินขาวจะเป็นผงสีหลักที่ใช้มากสำหรับช่วยให้กระดาษเคลือ
ความทรงรูปของกระดาษ

ความทรงรูปของกระดาษ

     ความสามารถของกระดาษที่จะต้านทานแรงที่มาแรงที่มากระทำให้กระดาษโค้งงอด้วยน้ำหนักกระดาษจากภายนอก หน่วยที่ใช้เป็น นิวตัน-เมตร หรือ นิวตัน หรือหน่วยอื่นที่เกี่ยวข้อง ความต้องการค่าความ
ความทนต่อการพับขาดของกระดาษ

ความทนต่อการพับขาดของกระดาษ

หมายถึง จำนวนการพับไปพับมา( double folds ) ของชิ้นทดสอบจนกระทั่งชิ้นทดสอบขาดออกจากกันภายใต้แรงที่กำหนด หน่วยที่ใช้เป็น จำนวนครั้ง หรือ log 10 ค่าความทนทานต่อการพับขาดในแนวขนานเครื่องสูงกว่าแนวขวางเครื่อง ความทนต่อการพ
ความต้านแรงฉีกขาด

ความต้านแรงฉีกขาด

หมายถึง ความสามารถของกระดาษที่จะต้านแรงกระทำซึ่งจะทำซึ่งจะทำให้ชิ้นทดสอบหนึ่งชิ้นขาดออกจากรอยฉีกนำเดิม หน่วยที่วัดได้เป็นมิลลินิวตัน( mN )หรือ กรัม ( gram ) กระดาษที่จำเป็นที่จะต้องตรวจสอบความต้านแรงฉีกข
ความต้านแรงดันทะลุ

ความต้านแรงดันทะลุ

     หมายถึง ความสามารถของกระดาษที่จะทนแรงดันได้สูงสุด เมื่อได้รับแรงกระทำในทิศทางตั้งฉากต่อผิวหน้ากระดาษ มีหน่วยเป็น กิโลปาสกาล(kPa) หรือ กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตรหรือปอนด์ต่อตารางนิ้ว คว
ความต้านแรงดึงและการยืดตัว

ความต้านแรงดึงและการยืดตัว

หมายถึง ความสามารถในการรับแรงดึงสูงสุดที่กระดาษจะทนได้ก่อนจะขาดออกจากกัน มีหน่วยเป็นแรงต่อความกว้างฃองกระดาษที่ใช้ทดสอบ เช่น กิโลนิวตันต่อเมตร(KN/m) หรือปอนด์ต่อนิ้ว( lb/in ) ค่าที่วัดได้จะเป็นสิ่งท
สมบัติทางเชิงกลประยุกต์

สมบัติทางเชิงกลประยุกต์

สมบ้ติทางเชิงกลประยุกต์เป็นสมบัติเชิงกลของกระดาษที่บ่งชี้ถึงค่าความต้านทานแรงที่มากระทำต่อกระดาษในหลายลักษณะจนกระดาษขาด ได้แก่ แรงดึง แรงฉีก และแรงเฉือน สมบัติทางเชิงกลของกระดาษได้แก่ ความต้านแรงดึง และการยึด
สมบัติทางเชิงกลพื้นฐาน

สมบัติทางเชิงกลพื้นฐาน

     เป็นสมบัติทางเชิงกลที่บ่งบอกถึงพฤติกรรมของกระดาษที่เกิดขึ้นในขณะที่ได้รับแรงดึงซึ่งกระดาษแต่ละชนิดจะมีพฤติกรรมในลักษณะเดียวกันซึ่งสามารถอธิบายได้โดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด( stres

nn

คลังบทความของเทคโนโลยีการพิมพ์